หลักสูตร
เทคนิคการจัดเตรียมตัวอย่างน้ำผิวดินสำหรับการวิเคราะห์ | |
---|---|
รายละเอียดหลักสูตร | การเก็บตัวอย่างเพื่อการวิเคราะห์ผล โดยเฉพาะตัวอย่างทางด้านสิ่งแวดล้อม ถือเป็นขั้นตอนสำคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง ที่จะช่วยให้ผลการวิเคราะห์และการประเมินผลกระทบของการปนเปื้อนสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม หรือคุณสมบัติเชิงปริมาณของสารเคมีต่างๆ ในสิ่งแวดล้อม มีความถูกต้องแม่นยำ อย่างไรก็ตามผลที่ได้จะมีความถูกต้องมากน้อยเพียงใด ก็ขึ้นอยู่กับ วิธีการเก็บตัวอย่างทางด้านสิ่งแวดล้อม มีความถูกต้องแม่นยำ และเป็นตัวแทนของประชากรตัวอย่างทางด้านสิ่งแวดล้อมมากน้อยเพียงใด เพื่อนำมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการต่อไป |
ระยะเวลาในการเรียน |
90 วัน |
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ |
|
โครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย |
|
คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม |
ผู้ที่ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการทั้งภาครัฐและเอกชนผู้สนใจทั่วไป |
คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมในการเรียน |
|
Smart Phone หรือ Tablet ที่เหมาะสมในการเรียน |
Android 4.0 ขึ้นไป เปิดด้วย Firefox iOS 6 ขึ้นไป เปิดด้วย Safari Windows Phone 8 ขึ้นไป เปิดด้วย IE |
เงื่อนไขในการเรียน |
ผู้ที่ลงทะเบียนเรียนจะถือว่ายอมรับเงื่อนไขตามที่กำหนดของแต่ละหลักสูตร
|
เทคนิคการจัดเตรียมตัวอย่างน้ำผิวดิน สำหรับการวิเคราะห์
การเก็บตัวอย่างเพื่อการวิเคราะห์ผล โดยเฉพาะตัวอย่างทางด้านสิ่งแวดล้อม ถือเป็นขั้นตอนสำคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง ที่จะช่วยให้ผลการวิเคราะห์และการประเมินผลกระทบของการปนเปื้อนสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม หรือคุณสมบัติเชิงปริมาณของสารเคมีต่างๆ ในสิ่งแวดล้อม มีความถูกต้องแม่นยำ อย่างไรก็ตามผลที่ได้จะมีความถูกต้องมากน้อยเพียงใด ก็ขึ้นอยู่กับ วิธีการเก็บตัวอย่างทางด้านสิ่งแวดล้อม มีความถูกต้องแม่นยำ และเป็นตัวแทนของประชากรตัวอย่างทางด้านสิ่งแวดล้อมมากน้อยเพียงใด เพื่อนำมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการต่อไป
คลิกเพื่ออ่านเพิ่มเติม
เทคนิคการเตรียมสารละลาย | |
---|---|
รายละเอียดหลักสูตร | การเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นที่ถูกต้อง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ หากเตรียมความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานคลาดเคลื่อนจากที่ระบุ ผลการวัดค่าของตัวอย่างย่อมคลาดเคลื่อน ดังนั้นการเตรียมสารละลายมาตรฐาน จึงจำเป็นต้องมีวิธีที่ชัดเจน ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับในระดับสากล |
ระยะเวลาในการเรียน |
90 วัน |
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ |
|
โครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย |
|
คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม |
ผู้ที่ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการทั้งภาครัฐและเอกชนผู้สนใจทั่วไป |
คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมในการเรียน |
|
Smart Phone หรือ Tablet ที่เหมาะสมในการเรียน |
iOS 6 ขึ้นไป เปิดด้วย Safari Windows Phone 8 ขึ้นไป เปิดด้วย IE |
เงื่อนไขในการเรียน |
ผู้ที่ลงทะเบียนเรียนจะถือว่ายอมรับเงื่อนไขตามที่กำหนดของแต่ละหลักสูตร
|
เทคนิคการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นที่ถูกต้อง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ หากเตรียมความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานคลาดเคลื่อนจากที่ระบุ ผลการวัดค่าของตัวอย่างย่อมคลาดเคลื่อน ดังนั้นการเตรียมสารละลายมาตรฐาน จึงจำเป็นต้องมีวิธีที่ชัดเจน ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
คลิกเพื่ออ่านเพิ่มเติม
เทคนิคการใช้ การตรวจสอบและการบำรุงรักษา ตู้ดูดไอระเหยสารเคมี | |
---|---|
รายละเอียดหลักสูตร | การใช้ตู้ดูดไอระเหยสารเคมี (laboratory fume cupboards) อย่างถูกต้องและปลอดภัย ผู้ใช้งานต้องมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและประเภทของการระบายอากาศในห้องปฏิบัติการ และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการระบายอากาศ เพื่อการเลือกใช้ตู้ดูดไอระเหยสารเคมีประเภทต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับห้องปฏิบัติการที่ใช้งาน นอกจากนี้ การเข้าใจระบบการทำงานและส่วนประกอบของตู้ดูดไอระเหยสารเคมี การไหลของอากาศ (air flow) การระบายไอเสีย (fume exhaust and dispersal) ตำแหน่งการติดตั้ง (setting) การตรวจสอบตู้ก่อนการตรวจรับ (commissioning test) และวิธีการใช้งาน การตรวจสอบ และบำรุงรักษาตู้ดูดไอระเหยสารเคมี ตลอดจนมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง จะช่วยป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และสิ่งแวดล้อม |
ระยะเวลาในการเรียน |
90 วัน |
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ |
|
โครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย |
|
คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม |
นักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ หรือผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมี ของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีวุฒิการศึกษาปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์ หรือปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ อย่างน้อย 3 ปี |
คอมพิวเตอร์ หรือ Smart Phone หรือ Tablet ที่เหมาะสมในการเรียน |
|
เงื่อนไขในการเรียน |
ผู้ที่ลงทะเบียนเรียนจะถือว่ายอมรับเงื่อนไขตามที่กำหนดของแต่ละหลักสูตร
|
เทคนิคการใช้ การตรวจสอบและการบำรุงรักษา ตู้ดูดไอระเหยสารเคมี
การใช้ตู้ดูดไอระเหยสารเคมี (laboratory fume cupboards) อย่างถูกต้องและปลอดภัย ผู้ใช้งานต้องมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและประเภทของการระบายอากาศในห้องปฏิบัติการ และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ การระบายอากาศ เพื่อการเลือกใช้ตู้ดูดไอระเหยสารเคมีประเภทต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับห้องปฏิบัติการที่ใช้งาน นอกจากนี้ การเข้าใจระบบการทำงานและส่วนประกอบของตู้ดูดไอระเหยสารเคมี การไหลของอากาศ (air flow) การระบายไอเสีย (fume exhaust and dispersal) ตำแหน่งการติดตั้ง (setting) การตรวจสอบตู้ก่อนการตรวจรับ (commissioning test) และวิธีการใช้งาน การตรวจสอบ และบำรุงรักษาตู้ดูดไอระเหยสารเคมี ตลอดจนมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง จะช่วยป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และสิ่งแวดล้อม
คลิกเพื่ออ่านเพิ่มเติม
ความรู้เบื้องต้นในการใช้เทคนิคแบบจำลองการจับกันระหว่างโมเลกุล (Molecular Docking) ด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบและพัฒนายาจากสมุนไพรไทย | |
---|---|
รายละเอียดหลักสูตร | ในปัจจุบัน วิทยาการทางคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการออกแบบและพัฒนายาชนิดใหม่เป็นอย่างมาก หนึ่งในเทคนิคที่มีความสำคัญ คือ เทคนิคแบบจำลองการจับกันระหว่างโมเลกุล หรือเรียกว่า เทคนิค Molecular Docking เป็นเทคนิคเบื้องต้นที่ใช้ในการวิจัย คิดค้น ออกแบบ และพัฒนายาชนิดใหม่ โดยรายละเอียดเนื้อหาหลักสูตรนี้ ท่านจะได้เรียนรู้ความสำคัญและความรู้เบื้องต้นของยา กระบวนการวิจัยและพัฒนายา และขั้นตอนการประยุกต์ใช้เทคนิค Molecular Docking ตลอดจนแนวทางการวิจัยสมุนไพรไทยเพื่อพัฒนาไปเป็นยารักษาโรค ส่งเสริมให้เกิดนักออกแบบและพัฒนายาหน้าใหม่ในประเทศ |
ระยะเวลาในการเรียน |
90 วัน |
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ |
|
โครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย |
|
คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม |
นักวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ และผู้ที่เกี่ยวข้องในห้องปฏิบัติการ |
คอมพิวเตอร์ หรือ Smart Phone หรือ Tablet ที่เหมาะสมในการเรียน |
|
เงื่อนไขในการเรียน |
ผู้ที่ลงทะเบียนเรียนจะถือว่ายอมรับเงื่อนไขตามที่กำหนดของแต่ละหลักสูตร
|
ความรู้เบื้องต้นในการใช้เทคนิคแบบจำลองการจับกันระหว่างโมเลกุล (Molecular Docking) ด้วยคอมพิวเตอร์
คือ เทคนิคแบบจำลองการจับกันระหว่างโมเลกุล หรือเรียกว่า เทคนิค Molecular Docking เป็นเทคนิคเบื้องต้นที่ใช้ในการวิจัย คิดค้น ออกแบบ และพัฒนายาชนิดใหม่ โดยรายละเอียดเนื้อหาหลักสูตรนี้ ท่านจะได้เรียนรู้ความสำคัญและความรู้เบื้องต้นของยา กระบวนการวิจัยและพัฒนายา และขั้นตอนการประยุกต์ใช้เทคนิค Molecular Docking
คลิกเพื่ออ่านเพิ่มเติม